傳統台味、現代面貌,你吃 #蛋黃酥 了嗎?/ Conquered by Egg Yolk Pastry (English below)
中秋節即將到來,大家的月餅都買好了嗎?本月我為 La Vie 雜誌寫了一篇蛋黃酥專題文章,從 #月餅的歷史,到蛋黃酥受到台灣消費者歡迎的原因,並解析 #近年來蛋黃酥爆紅的市場現象,與甜點、麵包主廚們如何 #以現代手法重新詮釋傳統好滋味。
有一點要先和大家解釋,關於月餅歷史的那一段,請不要誤會我抄襲
Wikipedia,事實正好相反, 中文維基百科 Chinese Wikipedia 上「#月餅」的詞條中,「溯源」那一整節是我重新編寫的 😊 👉🏻 https://tinyurl.com/vmhzdd5k
先預祝大家中秋愉快,下週一 #法式甜點裡的台灣 將正式出版,屆時一邊賞月、吃月餅,加上好書在手,更加了解台灣的甜點職人們,想必將會是一大樂事!
🔖 延伸閱讀:
《法式甜點裡的台灣》限量簽名版:https://tinyurl.com/296328zk
2021 中秋禮盒精選:https://tinyurl.com/r87ry8xw
#台味甜蜜蜜
*****
It's soon Mid-Autumn Festival. Have you all got yourself mooncakes? As you all know, there're lots of varieties regarding mooncakes, and the most popular one in Taiwan during the past years are undoubtedly "salted egg yolk pastry". Despite the huge popularity, egg yolk pastry hasn't always represented the Taiwanese style mooncakes. In the article I wrote for La Vie magazine, I had a brief review on the history of mooncakes, the reason behind egg yolk pastry's fame, and how modern pastry chefs transformed this traditional delicacy into a timeless delight. Click on the following link and read the full article (in Chinese).
#yingspastryguide #yingc #taiwan #slatedeggyolkpastry #eggyolkpastry #mooncake 陳耀訓·麵包埠YOSHI BAKERY Le Ruban Pâtisserie 法朋烘焙甜點坊
同時也有42部Youtube影片,追蹤數超過10萬的網紅草屯囝仔Official,也在其Youtube影片中提到,#草屯囝仔 #我只想欲安靜 #台語解說 阿里山拍攝MVの美好回憶分享⛰️ 真的是從早拍到晚 還爬山累得要死💦 不要問小編為什麼這麼清楚🥲 見證老闆如何中斷拍攝就要看這一支了! ~跪求乾爹乾媽置入~ ~支援更新設備基金~ #工商服務 歡迎來信洽詢👇 [email protected]...
「taiwan wikipedia」的推薦目錄:
- 關於taiwan wikipedia 在 Facebook 的精選貼文
- 關於taiwan wikipedia 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
- 關於taiwan wikipedia 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
- 關於taiwan wikipedia 在 草屯囝仔Official Youtube 的最讚貼文
- 關於taiwan wikipedia 在 草屯囝仔Official Youtube 的最讚貼文
- 關於taiwan wikipedia 在 台湾旅行ですか? タピコ Youtube 的最佳解答
- 關於taiwan wikipedia 在 Wikipedia designates Taiwan as a country | NewsX - YouTube 的評價
- 關於taiwan wikipedia 在 Trending Taiwan潮台灣 - Facebook 的評價
taiwan wikipedia 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
(รีโพสต์) "ยา โมลนูพิราเวียร์ อยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนา ครับ .. ยังไม่ได้มีให้ใช้"
ตอนนี้มีการแชร์ข้อความและคลิปวีดีโอ ที่พูดถึงยาต้านไวรัส ตัวใหม่ ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างการวิจัยเพื่อต่อสู้กับโรค covid-19 ชื่อว่ายา Molnupiravir โมลนูพิราเวียร์
ปัญหาคือหลายคนไปแชร์กันในทำนองที่ว่า ไม่ต้องฉีดวัคซีนหรอก เดี๋ยวรอใช้ยาตัวนี้ก็ได้ !?
อย่าทำอย่างนั้นนะครับ !! เพราะยาต้านไวรัสตัวนี้ ยังอยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนาอยู่เลย เป็นหนึ่งในยาอีกเป็น 100 ตัวที่เขาพยายามพัฒนากันเพื่อใช้ในการรักษาโรค covid-19 ซึ่งกว่าจะมีออกมาให้ใช้จริง ก็คงอีกนาน
และประสิทธิภาพของมันก็ไม่ได้สูงเลิศล้ำอย่างที่แชร์กันด้วยนะ
ลองอ่านเนื้อหาเพิ่มเติมได้จากข้อมูลของศูนย์ #ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย เรียบเรียงไว้ด้านล่างครับ
-------
(จาก https://tna.mcot.net/latest-news-708412)
ชัวร์ก่อนแชร์: Molnupiravir ยาต้านไวรัสรักษาโควิด 19 หายภายใน 5 วัน?
ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Taiwan FactCheck Center (ไต้หวัน)
แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ
ประเภทข่าวปลอม: ไม่มีหลักฐานยืนยัน
บทสรุป:
1.ผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 2 พบว่า Molnupiravir ได้ผลดีกับผู้รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน แต่ไม่มีผลทางการรักษากับผู้ป่วยที่รักษาตัวในโรงพยาบาล
2.ประสิทธิภาพของยายังต้องรอผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ต่อไป
ข้อมูลที่ถูกแชร์:
เป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยันเกี่ยวกับ Molnupiravir ยาต้านไวรัสโควิด 19 ซึ่งอยู่ในระหว่างการทดลองโดย Merck บริษัทผู้ผลิตยาในประเทศสหรัฐอเมริกา
หนึ่งในข้อความอวดอ้างสรรพคุณของ Molnupiravir คือข้อความจาก Facebook ซึ่งส่งต่อกันในไต้หวันช่วงต้นเดือนเมษายน โดยข้อความระบุว่าบริษัทผู้ผลิตยาจากอเมริกา ได้ผลิตยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำในชื่อ Molnupiravir ผู้ป่วยสามารถกินยาอยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน ตัวยาผ่านการทดลองทางคลินิกระยะที่ 1 และ 2 เรียบร้อยแล้ว ซึ่งการทดลองในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ คาดว่าจะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า และต่อไปโควิด 19 จะรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา
FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง:
ข้ออ้างเกี่ยวกับ Molnupiravir ที่ถูกแชร์เหล่านี้มีข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหลายประการ แยกเป็นประเด็นได้ดังนี้
1.Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำ – ไม่เป็นความจริง
บริษัท Merck ระบุว่า Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดเม็ด ไม่ใช่ยาต้านไวรัสชนิดน้ำอย่างที่กล่าวอ้าง
2.การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ของ Molnupiravir ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ – ไม่เป็นความจริง
เมื่อวันที่ 15 เมษายน Merck ได้เผยแพร่ความคืบหน้าการทดลองยาต้านไวรัสโควิด 19 Molnupiravir ทางเว็บไซต์ โดยบริษัทเตรียมทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่ยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ดังนั้นการทดลองยังไม่ใกล้ที่จะได้ผลสรุปตามที่กล่าวอ้าง
3.การทดลอง Molnupiravir ในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% – ไม่เป็นความจริง
ในการทดลองยา Molnupiravir มีการแบ่งผู้ทดลองเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่ม MOVe-OUT ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ระยะแรกซึ่งยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล และกลุ่ม MOVe-IN ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่รักษาตัวในโรงพยาบาล
ผลการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ได้ผลดีกับกลุ่ม MOVe-OUT และจะทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับกลุ่มนี้ต่อไป แต่จะไม่ทำการทดลองต่อกับกลุ่ม MOVe-IN หรือกลุ่มผู้ป่วยมีอาการของโรคมาเป็นเวลานานและรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล เพราะการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ไม่มีผลในรักษากับผู้ป่วยกลุ่มนี้ เป็นการยืนยันว่า Molnupiravir ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 ทุกรายอย่างที่กล่าวอ้าง
4.ผู้ป่วยโควิด 19 สามารถกินยา Molnupiravir อยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
รอย เบนส์ หัวหน้าศูนย์วิจัยของ Merck อธิบายกับเว็บไซต์ STAT ว่า ผลการทดลองพบว่า Molnupiravir ได้ผลดีที่สุดกับผู้ที่รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน ซึ่งการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ทีมวิจัยจะลดระยะเวลาของการติดเชื้อในกลุ่มตัวอย่างจาก 7 วันเหลือ 5 วัน โดยจะให้กลุ่มตัวอย่างรับยาสูงสุดที่ 800 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ซึ่งผลการทดลองคาดว่าจะออกมาในช่วงเดือนกันยายนหรือตุลาคม
ขณะที่สรรพคุณของยายังอยู่ในการทดลอง การอ้างว่า Molnupiravir สามารถกำจัดเชื้อโควิด 19 ได้ภายใน 5 วันจึงเป็นข้ออ้างไม่มีหลักฐานยืนยัน
5.คาดว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
ดร.ฉี๋ซิงปัง จากสถาบัน Academia Sinica และสถาบันสุขภาพแห่งไต้หวัน กล่าวว่า Molnupiravir เพิ่งจะเข้าสู่ทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 และต้องทำการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างอีกประมาณ 3,000 คน
Merck คาดว่า Molnupiravir จะใช้เวลาในการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 อีกประมาณ 5 ถึง 6 เดือน และจะสามารถวางจำหน่ายในช่วงครึ่งหลังของปี 2021 แต่การกล่าวอ้างว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในอีก 4 ถึง 5 เดือนเป็นการคาดเดาที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน
6.Molnupiravir ทำให้โควิด 19 สามารถรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
เฉินฉิวฉี ศาสตราจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย National Taiwan University อธิบายว่า แม้ Molnupiravir จะมีผลการทดลองที่ดี แต่ตัวยายังต้องผ่านการพิจารณาจากหน่วยงานด้านสาธารณสุขก่อนจะได้รับการอนุมัติให้ใช้กับประชาชนทั่วไป
เฉินฉิวฉี ย้ำว่าสิ่งท้าทายผู้ผลิตวัคซีนและยาต้านไวรัสในวันนี้ คือไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์ที่กำลังระบาดไปทั่วโลก ส่งผลให้ผู้ที่หายป่วยจากโควิด 19 สายพันธุ์เดิมมาแล้วยังสามารถกลับไปติดเชื้อได้อีก ประสิทธิภาพของยาและวัคซีนในการรับมือกับไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์จึงเป็นเรื่องที่หลายฝ่ายตั้งคำถาม การอ้างว่า Molnupiravir จะสามารถรักษาโควิด 19 ทุกชนิดได้ จึงเป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน
ข้อมูลอ้างอิง:
https://tfc-taiwan.org.tw/articles/5283
https://www.statnews.com/2021/04/15/merck-to-continue-tests-of-covid-pill-but-stop-trial-in-hospitalized-patients/
https://www.merck.com/news/merck-and-ridgeback-biotherapeutics-provide-update-on-progress-of-clinical-development-program-for-molnupiravir-an-investigational-oral-therapeutic-for-the-treatment-of-mild-to-moderate-covid-19/
-------
(เพิ่มเติมจาก wikipedia)
โมลนูพิราเวียร์, อังกฤษ: Molnupiravir (รหัสการพัฒนา MK-4482 และ EIDD-2801) เป็นยาต้านไวรัสทดลองซึ่งออกฤทธิ์โดยการให้ทางปาก ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ โดยเป็นโปร-ดรักของอนุพันธ์ของ เอ็น4-ไฮดรอกซีไซติดีน (N4-hydroxycytidine ของนิวคลีโอไซด์สังเคราะห์ และออกฤทธิ์ต้านไวรัสโดยการนำข้อผิดพลาดในการคัดลอกระหว่างการจำลองแบบของไวรัสอาร์เอ็นเอ[1][2] นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นฤทธิ์ต่อต้านไวรัสโคโรนา เช่น ซาร์ส, เมอร์ส และ SARS-CoV-2[3]
หลังจากพบว่ามีฤทธิ์ต่อต้านไวรัส SARS-CoV-2 ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการทดสอบโมลนูพิราเวียร์ในการศึกษาเบื้องต้นในมนุษย์เรื่อง "ความปลอดภัย, ความทนทานต่อยา และเภสัชจลนศาสตร์" ในอาสาสมัครที่มีสุขภาพดีในสหราชอาณาจักรและสหรัฐ[6] ต่อมาในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 บริษัทริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ประกาศว่าจะเริ่มต้นทดลองในระยะที่ 2 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของยาในการรักษาโควิด-19[7] การทดลองสองครั้งของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและที่ไม่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลในสหรัฐและสหราชอาณาจักรดำเนินการในเดือนกรกฎาคม[8][9] ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 โดยที่ยังไม่มีการเปิดเผยข้อมูลทางการแพทย์ใด ๆ บริษัทเมอร์ค ซึ่งเป็นพันธมิตรกับริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ในการพัฒนายาได้ประกาศความตั้งใจที่จะเริ่มการทดลองขั้นสุดท้ายของยาโมลนูพิราเวียร์ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2563[10] เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เมอร์คเริ่มการทดลองระยะที่ 2/3 เป็นเวลา 1 ปี โดยมุ่งเน้นไปที่ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล[11]
เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการเผยแพร่บทความซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเนเจอร์ เกี่ยวกับผลการศึกษาของการรักษาเฟร์ริตที่ติดเชื้อโควิด-19 ด้วยยาโมลนูพิราเวียร์[12] จากการศึกษาพบว่ายามีประสิทธิภาพ "เมื่อให้ทางปากกับเฟร์ริตที่ติดเชื้อ และป้องกันการแพร่กระจายของไวรัสระหว่างเฟร์ริตหลังจาก 24 ชั่วโมงภายหลังการให้ยา
จาก https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C
taiwan wikipedia 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
"ยา โมลนูพิราเวียร์ อยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนา ครับ .. ยังไม่ได้มีให้ใช้"
ตอนนี้มีการแชร์ข้อความและคลิปวีดีโอ ที่พูดถึงยาต้านไวรัส ตัวใหม่ ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างการวิจัยเพื่อต่อสู้กับโรค covid-19 ชื่อว่ายา Molnupiravir โมลนูพิราเวียร์
ปัญหาคือหลายคนไปแชร์กันในทำนองที่ว่า ไม่ต้องฉีดวัคซีนหรอก เดี๋ยวรอใช้ยาตัวนี้ก็ได้ !?
อย่าทำอย่างนั้นนะครับ !! เพราะยาต้านไวรัสตัวนี้ ยังอยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนาอยู่เลย เป็นหนึ่งในยาอีกเป็น 100 ตัวที่เขาพยายามพัฒนากันเพื่อใช้ในการรักษาโรค covid-19 ซึ่งกว่าจะมีออกมาให้ใช้จริง ก็คงอีกนาน
และประสิทธิภาพของมันก็ไม่ได้สูงเลิศล้ำอย่างที่แชร์กันด้วยนะ
ลองอ่านเนื้อหาเพิ่มเติมได้จากข้อมูลของศูนย์ #ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย เรียบเรียงไว้ด้านล่างครับ
-------
(จาก https://tna.mcot.net/latest-news-708412)
ชัวร์ก่อนแชร์: Molnupiravir ยาต้านไวรัสรักษาโควิด 19 หายภายใน 5 วัน?
ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Taiwan FactCheck Center (ไต้หวัน)
แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ
ประเภทข่าวปลอม: ไม่มีหลักฐานยืนยัน
บทสรุป:
1.ผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 2 พบว่า Molnupiravir ได้ผลดีกับผู้รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน แต่ไม่มีผลทางการรักษากับผู้ป่วยที่รักษาตัวในโรงพยาบาล
2.ประสิทธิภาพของยายังต้องรอผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ต่อไป
ข้อมูลที่ถูกแชร์:
เป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยันเกี่ยวกับ Molnupiravir ยาต้านไวรัสโควิด 19 ซึ่งอยู่ในระหว่างการทดลองโดย Merck บริษัทผู้ผลิตยาในประเทศสหรัฐอเมริกา
หนึ่งในข้อความอวดอ้างสรรพคุณของ Molnupiravir คือข้อความจาก Facebook ซึ่งส่งต่อกันในไต้หวันช่วงต้นเดือนเมษายน โดยข้อความระบุว่าบริษัทผู้ผลิตยาจากอเมริกา ได้ผลิตยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำในชื่อ Molnupiravir ผู้ป่วยสามารถกินยาอยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน ตัวยาผ่านการทดลองทางคลินิกระยะที่ 1 และ 2 เรียบร้อยแล้ว ซึ่งการทดลองในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ คาดว่าจะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า และต่อไปโควิด 19 จะรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา
FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง:
ข้ออ้างเกี่ยวกับ Molnupiravir ที่ถูกแชร์เหล่านี้มีข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหลายประการ แยกเป็นประเด็นได้ดังนี้
1.Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำ – ไม่เป็นความจริง
บริษัท Merck ระบุว่า Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดเม็ด ไม่ใช่ยาต้านไวรัสชนิดน้ำอย่างที่กล่าวอ้าง
2.การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ของ Molnupiravir ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ – ไม่เป็นความจริง
เมื่อวันที่ 15 เมษายน Merck ได้เผยแพร่ความคืบหน้าการทดลองยาต้านไวรัสโควิด 19 Molnupiravir ทางเว็บไซต์ โดยบริษัทเตรียมทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่ยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ดังนั้นการทดลองยังไม่ใกล้ที่จะได้ผลสรุปตามที่กล่าวอ้าง
3.การทดลอง Molnupiravir ในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% – ไม่เป็นความจริง
ในการทดลองยา Molnupiravir มีการแบ่งผู้ทดลองเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่ม MOVe-OUT ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ระยะแรกซึ่งยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล และกลุ่ม MOVe-IN ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่รักษาตัวในโรงพยาบาล
ผลการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ได้ผลดีกับกลุ่ม MOVe-OUT และจะทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับกลุ่มนี้ต่อไป แต่จะไม่ทำการทดลองต่อกับกลุ่ม MOVe-IN หรือกลุ่มผู้ป่วยมีอาการของโรคมาเป็นเวลานานและรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล เพราะการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ไม่มีผลในรักษากับผู้ป่วยกลุ่มนี้ เป็นการยืนยันว่า Molnupiravir ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 ทุกรายอย่างที่กล่าวอ้าง
4.ผู้ป่วยโควิด 19 สามารถกินยา Molnupiravir อยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
รอย เบนส์ หัวหน้าศูนย์วิจัยของ Merck อธิบายกับเว็บไซต์ STAT ว่า ผลการทดลองพบว่า Molnupiravir ได้ผลดีที่สุดกับผู้ที่รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน ซึ่งการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ทีมวิจัยจะลดระยะเวลาของการติดเชื้อในกลุ่มตัวอย่างจาก 7 วันเหลือ 5 วัน โดยจะให้กลุ่มตัวอย่างรับยาสูงสุดที่ 800 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ซึ่งผลการทดลองคาดว่าจะออกมาในช่วงเดือนกันยายนหรือตุลาคม
ขณะที่สรรพคุณของยายังอยู่ในการทดลอง การอ้างว่า Molnupiravir สามารถกำจัดเชื้อโควิด 19 ได้ภายใน 5 วันจึงเป็นข้ออ้างไม่มีหลักฐานยืนยัน
5.คาดว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
ดร.ฉี๋ซิงปัง จากสถาบัน Academia Sinica และสถาบันสุขภาพแห่งไต้หวัน กล่าวว่า Molnupiravir เพิ่งจะเข้าสู่ทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 และต้องทำการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างอีกประมาณ 3,000 คน
Merck คาดว่า Molnupiravir จะใช้เวลาในการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 อีกประมาณ 5 ถึง 6 เดือน และจะสามารถวางจำหน่ายในช่วงครึ่งหลังของปี 2021 แต่การกล่าวอ้างว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในอีก 4 ถึง 5 เดือนเป็นการคาดเดาที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน
6.Molnupiravir ทำให้โควิด 19 สามารถรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
เฉินฉิวฉี ศาสตราจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย National Taiwan University อธิบายว่า แม้ Molnupiravir จะมีผลการทดลองที่ดี แต่ตัวยายังต้องผ่านการพิจารณาจากหน่วยงานด้านสาธารณสุขก่อนจะได้รับการอนุมัติให้ใช้กับประชาชนทั่วไป
เฉินฉิวฉี ย้ำว่าสิ่งท้าทายผู้ผลิตวัคซีนและยาต้านไวรัสในวันนี้ คือไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์ที่กำลังระบาดไปทั่วโลก ส่งผลให้ผู้ที่หายป่วยจากโควิด 19 สายพันธุ์เดิมมาแล้วยังสามารถกลับไปติดเชื้อได้อีก ประสิทธิภาพของยาและวัคซีนในการรับมือกับไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์จึงเป็นเรื่องที่หลายฝ่ายตั้งคำถาม การอ้างว่า Molnupiravir จะสามารถรักษาโควิด 19 ทุกชนิดได้ จึงเป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน
ข้อมูลอ้างอิง:
https://tfc-taiwan.org.tw/articles/5283
https://www.statnews.com/2021/04/15/merck-to-continue-tests-of-covid-pill-but-stop-trial-in-hospitalized-patients/
https://www.merck.com/news/merck-and-ridgeback-biotherapeutics-provide-update-on-progress-of-clinical-development-program-for-molnupiravir-an-investigational-oral-therapeutic-for-the-treatment-of-mild-to-moderate-covid-19/
-------
(เพิ่มเติมจาก wikipedia)
โมลนูพิราเวียร์, อังกฤษ: Molnupiravir (รหัสการพัฒนา MK-4482 และ EIDD-2801) เป็นยาต้านไวรัสทดลองซึ่งออกฤทธิ์โดยการให้ทางปาก ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ โดยเป็นโปร-ดรักของอนุพันธ์ของ เอ็น4-ไฮดรอกซีไซติดีน (N4-hydroxycytidine ของนิวคลีโอไซด์สังเคราะห์ และออกฤทธิ์ต้านไวรัสโดยการนำข้อผิดพลาดในการคัดลอกระหว่างการจำลองแบบของไวรัสอาร์เอ็นเอ[1][2] นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นฤทธิ์ต่อต้านไวรัสโคโรนา เช่น ซาร์ส, เมอร์ส และ SARS-CoV-2[3]
หลังจากพบว่ามีฤทธิ์ต่อต้านไวรัส SARS-CoV-2 ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการทดสอบโมลนูพิราเวียร์ในการศึกษาเบื้องต้นในมนุษย์เรื่อง "ความปลอดภัย, ความทนทานต่อยา และเภสัชจลนศาสตร์" ในอาสาสมัครที่มีสุขภาพดีในสหราชอาณาจักรและสหรัฐ[6] ต่อมาในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 บริษัทริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ประกาศว่าจะเริ่มต้นทดลองในระยะที่ 2 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของยาในการรักษาโควิด-19[7] การทดลองสองครั้งของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและที่ไม่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลในสหรัฐและสหราชอาณาจักรดำเนินการในเดือนกรกฎาคม[8][9] ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 โดยที่ยังไม่มีการเปิดเผยข้อมูลทางการแพทย์ใด ๆ บริษัทเมอร์ค ซึ่งเป็นพันธมิตรกับริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ในการพัฒนายาได้ประกาศความตั้งใจที่จะเริ่มการทดลองขั้นสุดท้ายของยาโมลนูพิราเวียร์ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2563[10] เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เมอร์คเริ่มการทดลองระยะที่ 2/3 เป็นเวลา 1 ปี โดยมุ่งเน้นไปที่ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล[11]
เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการเผยแพร่บทความซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเนเจอร์ เกี่ยวกับผลการศึกษาของการรักษาเฟร์ริตที่ติดเชื้อโควิด-19 ด้วยยาโมลนูพิราเวียร์[12] จากการศึกษาพบว่ายามีประสิทธิภาพ "เมื่อให้ทางปากกับเฟร์ริตที่ติดเชื้อ และป้องกันการแพร่กระจายของไวรัสระหว่างเฟร์ริตหลังจาก 24 ชั่วโมงภายหลังการให้ยา
จาก https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C
taiwan wikipedia 在 草屯囝仔Official Youtube 的最讚貼文
#草屯囝仔 #我只想欲安靜 #台語解說
阿里山拍攝MVの美好回憶分享⛰️
真的是從早拍到晚
還爬山累得要死💦
不要問小編為什麼這麼清楚🥲
見證老闆如何中斷拍攝就要看這一支了!
~跪求乾爹乾媽置入~
~支援更新設備基金~
#工商服務 歡迎來信洽詢👇
caotunboy542@gmail.com
-
《我只想欲安靜》Official Music Video📺
👉 https://youtu.be/iYIqnAOxpwM
《我只想欲安靜》線上聽 🎧
🎵 Apple Music → https://reurl.cc/XWrkK0
🎵 Spotify → https://reurl.cc/MAmdEv
🎵 KKBOX → https://reurl.cc/vqb1NL
🎵 MyMusic → https://reurl.cc/j8450Z
-
本集介紹歌曲
【我只想欲安靜】
我只想欲 安靜去無聲的所在
我只想欲 安靜簡單解說我的悲哀
人生路坎坷 雖然坎坷我也感激
跋倒才會深刻
踮細漢哭咧哭咧著笑啊
大漢了後笑咧笑咧煞哭啊
有偌濟誤會袂赴解說
一斡頭煞被人嫌共淒慘犁犁
無錢踮社會等於攏無機會
學校教的煞毋是完全對的
斷翼的我嘛想欲飛
我只想欲 安靜去無聲的所在
我只想欲 安靜簡單解說我的悲哀
猶原孤單唱著歌 攑吉他咧彈
毋管環境按怎拖 毋管按怎磨
管伊條件按怎換 是啥咧操盤
感受表面的繁華 比看啥荏懶
出帆的船隻 也會拄著風浪
親像咱踮人生道路所拄著的過程
這馬出外的咱總有對的環境
可能以後咱會感謝天公伯的酷刑
但是 我想欲找一个無聲的所在
這滿腹的悲哀 喔 恁袂了解
我只想欲 安靜去無聲的所在
我只想欲 安靜簡單解說我的悲哀
-
參考資料|Wikipedia
特別感謝|Achia Liu 、劉冠汶
-
台語小教室(全集):
https://reurl.cc/W375x9
FB粉絲專頁:
https://www.facebook.com/CaoTunBoyz
草屯囝仔Instagram:
https://www.instagram.com/caotun_taiwan/
樞育 https://www.instagram.com/caotun_su/
阿倉 https://www.instagram.com/leechang06/
taiwan wikipedia 在 草屯囝仔Official Youtube 的最讚貼文
#草屯囝仔 #媽祖 #台語解說
2018年我們將媽祖的故事寫成歌
2021年跟著草屯囝仔重新回味
大家知道單曲封面上的千里眼和順風耳是阿倉和樞育扮演的嗎?
阿倉最近飽讀詩書,學識涵養大力提升!
任何關於歌曲的問題、討論都歡迎在底下留言!
也別忘了分享這支影片,讓更多人知道媽祖的好❤️
-
《媽祖(Prod. Huangfu)》Official Music Video📺
👉 https://youtu.be/yd-L47K2luA
《媽祖(Prod. Huangfu)》線上聽 🎧
🎵 Apple Music → https://reurl.cc/KAD90R
🎵 Spotify → https://reurl.cc/5raROR
🎵 KKBOX → https://reurl.cc/dG8aLk
🎵 MyMusic → https://reurl.cc/a9zxqX
-
本集介紹歌曲
【媽祖(Prod. Huangfu)】
人生如海 有媽祖指引
親像是明燈踮黑暗時陣牽引咱的心
天上聖母留慈悲 教咱就要向善每一日
心誠 則靈
天地玄宗 神由心通
湄洲林氏降世默聲中
有如靈通 大慈大悲如金光
救苦救難 島嶼眾生保安康
海相險惡無情洶洶 天妃挺身驅蛟龍
降伏妖精千里順風 供奉面容攏薰黑
捨身為己 孝名顯赫連天
天上聖母 慈悲
萬家祈求保安寧 法門弟子專拜請
天上聖母降臨來 神兵火急如律令
人生如海 有媽祖指引
親像是明燈踮黑暗時陣牽引咱的心
天上聖母留慈悲 勸咱就要向善每一日
心誠 則靈
眾信徒攏想欲聽草屯囝仔講祢的故事 要從佗講起
我就帶你轉來泉州浦田縣賢良港三月二三彼一日
踮西元九百六十年 那時咱猶未出世
但是從我有記憶 開始 攏是受祢的保庇
祢親像阮欸媽媽 拄著困難提醒著我
叫我頭要舉乎高 啥物款代誌攏別驚
我一直跑 一直堅持 一直向前行
我袂閣吼 袂閣驚慌 因為有祢的陪伴
我曾經想過放棄 因為祢所以堅持
在我的心目中祢的重要大過幾錢臭錢
有祢我開始學著會對別人好
祢是阮大家人心目中的媽祖 天上聖母
國泰民安 雨順嘩啦啦拉
文武旗飛 鼓陣法仔拉拉
肅靜 喔欸喔欸喔
迴避 喔欸喔欸喔
國泰民安 雨順嘩啦啦拉
文武旗飛 鼓陣法仔拉拉
肅靜 喔欸喔欸喔
迴避 喔欸喔欸喔
人生如海 有媽祖指引
親像是明燈踮黑暗時陣牽引咱的心
天上聖母留慈悲 勸咱就要向善每一日
心誠 則靈
-
參考資料|傳統雜技主題知識網、Wikipedia
特別感謝|Achia Liu 、劉冠汶
-
台語小教室(全集):
https://reurl.cc/W375x9
FB粉絲專頁:
https://www.facebook.com/CaoTunBoyz
草屯囝仔Instagram:
https://www.instagram.com/caotun_taiwan/
樞育 https://www.instagram.com/caotun_su/
阿倉 https://www.instagram.com/leechang06/
taiwan wikipedia 在 台湾旅行ですか? タピコ Youtube 的最佳解答
2020年は台南の安平で雙十節国慶(中華民國國慶日)の花火大会が行われました。10月10日は台湾の祝日です。vlog
ーーーーーーーー
中華民国国慶日(ちゅうかみんこくこっけいじつ)は、中華民国の建国記念日(開国記念日は1月1日であり、国慶節を建国記念日と訳す事を疑問とする議論もある)。別称は双十節、双十国慶、双十慶典。1911年10月10日(清宣統三年辛亥年)に発生した武昌起義を記念している。武昌起義は辛亥革命の発端となり、その2か月後には中国各地で革命運動が続発し清朝が崩壊し、アジア初の共和制国家である中華民国が成立した。
国慶日は中華民国の国定祝日の一つであり、毎年政府主催の祝賀行事が行なわれており、また世界各地の華僑による祝賀活動も行なわれている。その中でも日本やアメリカのシカゴとサンフランシスコの中華街では祝賀パレードが毎年実施されている。
ーーーウィキペディア(Wikipedia)
ーーーーーーーーー
✦ツイッター:https://twitter.com/tapiko_taiwan
フォローはどうぞお気軽に🌼
✦Instagram:https://www.instagram.com/tapiko_taiwan
フォローはどうぞお気軽に🌼
コメントいただけるととても嬉しいです。お気軽にどうぞ😊
謝謝大家!請給我評論
※動画右下の▼をクリック後一番下までスクロールしてください👇))
チャンネル登録すぐできます!
http://www.youtube.com/channel/UC3Y9r2-aLUow9-u9VQf7ydw?view_as=subscriber?sub_confirmation=1
ーーーーーーーーーーーーーー
【過去の再生リスト】
【台湾生活☻】プリンが簡単すぎて感動/大同電鍋買いました/暮らしvloghttps://youtu.be/cnkGjJdwgsk
【台南旅行☻】台南ってどんな所?台南グルメ・観光・お土産https://youtu.be/pjZaIchLcRg
【台湾生活☻】大行列スムージーの味は?!/豆✖まめまめしい小さな暮らし/vlo
https://youtu.be/EzySbozNdKk
【台湾生活☻】風水で金運UP/台湾南部限定バーガーショップ丹丹漢堡/スーパー購入品vlog
https://youtu.be/dyFIQ02CXKs
【暮らしvlog】マンゴー驚きの値段!/市場のマンゴーかき氷/台湾カステラ/台南「玉井・新化」/Taiwan Mango
https://youtu.be/cwssqtvSlos
台湾旅行【朝市ツアー】タピコと一緒に行ってみよう
https://youtu.be/I05P5KZPPfo
ーーーーーーーーーー
他の方の国慶節の動画
台湾・蔡総統 習指導部に“対等な対話”呼びかけ(2020年10月10日)
https://youtu.be/Kh1WFRQeblI
9 things the world should learn from Taiwan 🇹🇼 雙十國慶之台灣為何該成為國際典範
https://youtu.be/DQtIGUO4lcQ
ーーーーーー
【撮影機材】 SONY α6600 https://www.sony.jp/ichigan/products/ILCE-6600/
#台湾観光 #暮らしvlog #台湾生活
taiwan wikipedia 在 Trending Taiwan潮台灣 - Facebook 的推薦與評價
Trending Taiwan潮台灣, 台北市(Taipei, Taiwan). 34611 likes · 294 talking about this · 6 were here. Trending Taiwan's YouTube channel features captivating. ... <看更多>
taiwan wikipedia 在 Wikipedia designates Taiwan as a country | NewsX - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>